1. LOGO รูปแบบการพัฒนาหลักสูตร
2. ความหมายของการพัฒนาหลักสูตร “การพัฒนาหลักสูตร” มีนักศึกษาหลายได้ให้ความหมายไว้ ยกตัวอย่างเช่น กู๊ด ( Carter V. Good, 1973 : 157 -158 ) ได้ให้ความเห็นไว้ว่า การพัฒนา หลักสูตรเกิดขึ้นได้ 2 ลักษณะ คือการปรับปรุงและเปลี่ยนแปลงหลักสูตร การ ปรับปรุงหลักสูตรเป็นวิธีการพัฒนาหลักสูตรอย่างหนึ่ง เพื่อให้เหมาะกับโรงเรียน และระบบโรงเรียน จุดมุ่งหมายของการสอนวัสดุอุปกรณ์ วิธีสอนรวมทั้งการ ประเมินผล ส่วนคาว่า การเปลี่ยนแปลงหลักสูตร หมายถึงการแก้ไขหลักสูตรให้ แตกต่างไปจากเดิม เป็นการสร้างโอกาสทางการเรียนใหม่
3. วิชัย วงษ์ใหญ่ (2525 : 10) กล่าวว่า การพัฒนาหลักสูตร คือ การพยายาม วางโครงการที่จะช่วยให้นักเรียนได้เรียนรู้ตรงตามจุดหมายที่กาหนดไว้ หรือการพัฒนา พัฒนาหลักสูตรและการสอนคือ ระบบโครงสร้างของการจัดโปรแกรมการสอน กาหนดจุดมุ่งหมาย เนื้อหาสาระ การปรับปรุงตารา แบบเรียน คู่มือครู และสื่อการ การเรียนต่าง ๆ การวัดและประเมินผลการใช้หลักสูตรการปรับปรุงแก้ไข และการให้ ให้ การอบรมครูผู้ใช้หลักสูตรให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของการพัฒนาหลักสูตรและ และ การสอน รวมทั้งการบริหารและบริการหลักสูตร ความหมายของการพัฒนาหลักสูตร
4. ความหมายของการพัฒนาหลักสูตร สงัด อุทรานันท์ (2532 : 33)กล่าวว่า การพัฒนาหลักสูตร หมายถึง การดาเนินการจัดทาหลักสูตรขึ้นมาใหม่ หรือจัดทาหลักสูตรที่มีอยู่แล้วให้ดี ให้ดีขึ้น จากแนวคิดข้างต้นจึงสรุปได้ว่า การพัฒนาหลักสูตร มี 2 ความหมายคือ 1.การนาหลักสูตรที่มีแล้วมาปรับปรุงให้ดีขึ้น หรือเรียกว่า “การปรับปรุงหลักสูตร” 2.การพัฒนาหลักสูตร ขึ้นมาใหม่โดยไม่มีหลักสูตรเดิมอยู่ ก่อน โดยใช้กระบวนการการพัฒนาหลักสูตร
5. การพัฒนาหลักสูตร มีรูปแบบหลายรูปแบบ และหลายขั้นตอน การ แสวงหารูปแบบในการพัฒนาหลักสูตรเป็นสิ่งสาคัญ และจาเป็น เพราะ รูปแบบการพัฒนาหลักสูตรเปรียบเสมือนพิมพ์เขียวที่มุ่งชี้ต่อการพัฒนา หลักสูตรให้สะดวก รวดเร็วยิ่งขึ้น การนารูปแบบการพัฒนาหลักสูตรมาใช้ จะต้องมีการเลือกหรือปรับใช้ให้เข้ากับสภาพความเป็นจริงของชีวิต และสังคม ของผู้ใช้ หลักสูตร โดยแนวคิดในการพัฒนาหลักสูตรนั้น มีหลายรูปแบบ ได้แก่ รูปแบบการพัฒนาหลักสูตร
6. ไทเลอร์ (Tyler) ได้ให้แนวคิดในวางแผนโครงร่างหลักสูตร โดยใช้วิธี Means - Ends Approach เป็นหลักการและ เหตุผลในการสร้างหลักสูตรและการสอน ที่เน้นการตอบคาถามพื้นฐาน 4 ประการ ดังนี้
1. มีจุดมุ่งหมาย ทางการศึกษาอะไรบ้าง ที่สถาบันการศึกษาจะต้องกาหนด ให้ผู้เรียน
2. มีประสบการณ์การศึกษาอะไรบ้าง ที่สถาบันการศึกษาควรจัดขึ้นเพื่อช่วยให้บรรจุด มุ่งหมายที่กาหนดไว้
3. จะจัดประสบการณ์ทางการศึกษาอย่างไร จึงจะทาให้การสอนมีประสิทธิภาพ
4. จะประเมินผลประสิทธิภาพของประสบการณ์ในการศึกษาอย่างไร จึงจะตัดสินใจได้ว่าบรรลุ ถึงจุดมุ่งหมายที่กาหนดไว้
7. เซย์เลอร์ อเล็กซานเดอร์ และเลวิส (Saylor , Alexander and Lewis) ได้เสนอรูปแบบและกระบวนการพัฒนาหลักสูตร มีขั้นตอน รายละเอียดในการพัฒนาหลักสูตร ดังนี้ 1. เป้ าหมาย จุดมุ่งหมาย และขอบเขต (Goals , Objectives and Domains) 2. การออกแบบหลักสูตร (Curriculum Design) 3. การใช้หลักสูตร (Curriculum Implementation) 4. การประเมินผลหลักสูตร (Curriculum Evaluation)
8. โอลิวา (Oliva) ได้เสนอแนวคิดในการพัฒนาหลักสูตร โดยเสนอองค์ประกอบในการ พัฒนาหลักสูตร 12 องค์ประกอบ และมีการดาเนินการเป็นขั้นตอน ดังนี้
1. กำหนดเป้ าหมายของการจัดการศึกษา ปรัชญา และหลักจิตวิทยาการศึกษา ซึ่งเป้าหมายนี้เป็นความเชื่อที่ได้มาจากความต้องการของสังคม และผู้เรียน
2. วิเคราะห์ความต้องการของชุมชน ผู้เรียน และเนื้อหาวิชา
3. กาหนดจุดหมายของหลักสูตร
4. กาหนดวัตถุประสงค์ของหลักสูตร
5. จัดโครงสร้างของหลักสูตร และนาหลักสูตรไปใช้
6. กาหนดจุดหมายของการเรียนการสอน
7. กาหนดวัตถุประสงค์ของการเรียนการสอน
8. เลือกยุทธวิธีการจัดการเรียนการสอน
9. เลือกวิธีการประเมินผลก่อนเรียนและหลังเรียน
10. นายุทธวิธีการจัดการเรียนการสอนไปใช้
11. ประเมินผลการจัดการเรียนการสอน
12. ประเมินผลหลักสูตร องค์ประกอบในการพัฒนาหลักสูตร 12 องค์ประกอบ
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น